วันอาทิตย์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ศาสนาสำคัญในประเทศไทย

ศาสนาสำคัญในประเทศไทย

พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่มีความผูกพันเกี่ยวข้อกับคนไทยมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย และเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือจนกว่าไว้ว่าเป็นศาสนาประจำชาติ หลักคำสอนมอิทธิพลต่อการดำรงชีวิตคนไทยได้ถือปฏิบัติสืบเนื่องจนกลายเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตในหลายๆด้านเช่น อ่านเพิ่มเติม

               

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาสนา

ความหมายของศาสนา


พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้คำนิยามของคำว่า ศาสนา ไว้ว่า ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือ แสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลก เป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหนึ่ง แสดงหลักธรรมเกี่ยวกับบุญบาปอันเป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมทั้งลัทธิพิธีที่กระทำตามความเห็นหรือตามคำสั่งสอนในความเชื่อถือนั้น ๆ ศาสนาจึ อ่านเพิ่มเติม

หน้าที่และมารยาทชาวพุธ

 หน้าที่ชาวพุทธ

       
พุทธศาสนิกชนยึดถือพระพุทธศาสนาเป็นสรณะในการดำรงชีวิต ในประเทศไทยประชาชนมากกว่าร้อยละ ๙๕นับถือพระพุทธศาสนาเป็นเวลากว่าพันปีแล้วที่พระพุทธศาสนาได้เข้ามาผสมกลมกลืนกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย จนแยกกันไม่ออก ความเจริญหรือความเลื่อมของพระพุทธศาสนาย่อมมีผลกระทบต่อสังคมไทย พวกเราชาวพุทธจึงมีหน้าที่จะทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาให้เจริญมั่นคงสืบไป หน้าที่สำคัญของชาวพุทธมีดังนี้ อ่านเพิ่มเติม

พุทธสาวก พุทธสารวิกา และศาสนิกชนตัวอย่าง

 ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกาและชาวพุทธตัวอย่าง


ประวัติพุทธสาวก ในบทนี้ ได้ศึกษา เรื่อง พระอานนท์ พระสารีบุตร พระโมคคัลลานะ พระราหุล และพระเขมาเถรี เพื่อวัตถุประสงค์นำแนววิถีชีวิตการประพฤติปฏิบัติของท่านนำไปใช้ในชีวิตประจำวันของศาสนิกชน อ่านเพิ่มเติม 

การบริหารจิตและเจริญปัญญา

การบริหารจิตและการเจริญปัญญา
         
การสวดมนต์แปลและ แผ่เมตตา
การไหว้พระสวดมนต์เป็นการแสดงความเคารพต่อพระรัตน ตรัยที่เราต้องปฏิบัติให้พร้อมทั้งทางกาย วาจา และใจ เพื่อให้เป็นการเสริมสร้างสติปัญญา ผู้ที่ปฏิบัติเป็นประจำจะเกิดสติสัมปชัญญะ มีจิตเป็นสมาธิ ประณีตและมีคุณธรรม ทำให้ความเห็นถูกต้องตามหลักของพระพุทธศาสนา

          ในขณะที่สวดมนต์ถือเป็นการ บริหารจิตและเจริญปัญญาเบื้องต้น จะทำให้มีสติและสัมปชัญญะรู้ตัวอยู่กับปัจจุบันเสมอ การไหว้พระสวดมนต์ โดยมากนิยมทำในตอนเช้าและก่อนนอน หรือทำก่อนที่เราจะฝึกสมาธิซึ่งจะช่วยให้ผู้ฝึกจิตสงบ มีสมาธิ และระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย อ่านเพิ่มเติม

พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต

 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต

พระไตรปิฎก : โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันตปิฎกพระไตรปิฎก : โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันตปิฎก ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันปิฎกพระสูตร หรือที่เรียกในทางวิชาการว่า พระสุตตันปิฎก เป็น 1 ใน 3 ปิฎก มีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากพระวินัยปิฎกและพระอภิธรรมปิฎก คือ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาที่มี บุคคล เหตุการณ์และสถานที่เข้ามาประกอบที่เรียกว่า บุคลาธิษฐาน โดยที่พระพุทธเจ้าทรงปรารภบุคคลเป็นต้น แล้วทรงถือโอกาสแสดงธรรมเทศนา ที่มีลักษณะเป็น ธรรมาธิษฐานบ้าง แต่ก็มีเป็นส่วนน้อย พระธรรมเทศนาในพระสูตรมีเป็นจำนวนมาก หลายหมวด หลายประเภท


หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนา

1.ขันธ์ 5 หรือ เบญจขันธ์ คือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ที่ประกอบด้วยรูปและนามรูป คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย ประกอบด้วยธาตุ 4 ได้แก - ธาตุดิน(ส่วนของร่างกายที่เป็นของแข็ง เช่น เนื้อ กระดูก ผม)ธาตุน้ำ (ส่วนที่เป็นของเหลวของร่างกาย) เช่น เลือด น้ำลาย น้ำเหลือง น้ำตา )ธาตุลม (ส่วนที่เป็นลมของร่างกาย ได้แก่ ลมหายใจเข้าออก ลมในกระเพาะอาหาร)- ธาตุไฟ ( ส่วนที่เป็นอุณหภูมิของร่างกาย ได้แก่ ความรู้ อ่านเพิ่มเติม